วันอังคารที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2554

อาเซียน

ความเป็นมา

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีจุดเริ่มต้นขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ได้ร่วมกันจัดตั้งสมาคมอาสา หรือ Association of South East Asia ขึ้นเพื่อการร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ดำเนินการได้เพียง 2 ปี ก็ต้องหยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหว่าง ประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย
จนกระทั่งต่อมามีการฟื้นฟูสัมพันธภาพระหว่างประเทศขึ้น จึงได้มีการแสวงหาลู่ทางจัดตั้งองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจขึ้นในภูมิภาค "สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้" และพันเอก (พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในสมัยรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร โดยมีการลงนาม "ปฏิญญากรุงเทพ" ที่พระราชวังสราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 จาก ปฏิญญาอาเซียน ซึ่งลงนามโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกก่อตั้ง 10ประเทศ ได้แก่ ทุกประที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยกเว้น ติมอร์-เลสเต้ 
ความประสงค์ของการจัดตั้งกลุ่มอาเซียนขึ้นมาเกิดจากความต้องการสภาพแวดล้อมภายนอกที่มั่นคง (เพื่อที่ผู้ปกครองของประเทศสมาชิกจะสามารถมุ่งความสนใจไปที่การสร้างประเทศ) ความกลัวต่อการแพร่ขยายของลัทธิคอมมิวนิสต์ ความศรัทธาหรือความเชื่อถือต่อมหาอำนาจภายนอกเสื่อมถอยลงในช่วงพุทธทศวรรษ 2500 รวมไปถึงความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การจัดตั้งกลุ่มอาเซียนมีวัตถุประสงค์ต่างกับการจัดตั้งสหภาพยุโรป เนื่องจากกลุ่มอาเซียนถูกสร้างขึ้นเพื่อสนับสนุนความเป็นชาตินิยม

จุดประสงค์ของการจัดตั้ง
   ปฏิญญากรุงเทพฯ ได้ระบุวัตถุประสงค์สำคัญ 7 ประการของการจัดตั้งอาเซียน ได้แก่
      1.  ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี
           วิทยาศาสตร์ และการบริหาร
      2.  ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค
      3.  เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค
      4.  ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี
      5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการฝึกอบรมและการวิจัย และส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
      6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม
      7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ  
          และองค์การระหว่างประเทศ

ประเทศสมาชิก
1. บรูไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)
ชื่อทางการ : เนการา บรูไน ดารุสซาลาม (Negara Brunei Darussalam แปลวา ดินแดนแหงความสงบ     สุข)  
ที่ตั้ง : ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอรเนียว (ละติจูดที่ 5 เหนือเสนศูนยสูตร) 
           แบงเปนสี่เขต คือ เขต Brunei-Muara  เขต Belait  เขต Temburong  และเขต Tutong 
พื้นที่: 5,765 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่รอยละ 70 เปนปาไมเขตรอน
เมืองหลวง : บันดารเสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan)

2. กัมพูชา (Cambodia) 
     ชื่อทางการ : ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) 
ที่ตั้ง : กัมพูชาตั้งอยูกลางภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีพรมแดนทิศเหนือติดกับประเทศไทย (จังหวัด
อุบลราชธานีศรีสะเกษ สุรินทรและบุรีรัมย) และลาว (แขวง อัตตะปอและจําปาสัก) ทิศตะวันออกติด
2เวียดนาม (จังหวัดกอนทูม เปลกูซาลาย ดั๊กลั๊ก สองแบเตยนิน ลองอาน ดงทาบ อันซาง และเกียงซาง) 
ทิศตะวันตกติดประเทศไทย (จังหวัดสระแกว จันทบุรีและตราด) และทิศใตติดอาวไทย
พื้นที่: ขนาดกวาง 500 กิโลเมตร ยาว 450 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 181,035 ตารางกิโลเมตร    หรือมีขนาด
ประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศไทย เสนเขตแดนโดยรอบประเทศยาวประมาณ 2,000 กิโลเมตร โดยมี
เสนเขตแดนติดตอกับประเทศไทยยาว 798 กิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ (Phnom Penh) 

3. อินโดนีเซีย (Indonesia) 
     ชื่อทางการ : สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) 
ที่ตั้ง : อยูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต  โดยตั้งอยูบนเสนทางเชื่อมตอระหวางมหาสมุทรแปซิฟกกับ
มหาสมุทรอินเดีย และเปนสะพานเชื่อมระหวางทวีปเอเชียกับออสเตรเลีย ทําใหอินโดนีเซียสามารถ
ควบคุมเสนทางการติดตอระหวางมหาสมุทรทั้งสอง ผานชองแคบที่สําคัญตางๆ เชน ชองแคบมะละกา
ชองแคบซุนดา และชองแคบล็อมบอก ซึ่งเปนเสนทางขนสงน้ํามันจากตะวันออกกลางมายังประเทศใน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเอเชียตะวันออก
พื้นที่: 1,890,754 ตารางกิโลเมตร  เปนประเทศหมูเกาะที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก ประกอบดวยเกาะใหญนอย
    กวา 17,508 เกาะ รวมอยูในพื้นที่ 4 สวน คือ
- หมูเกาะซุนดาใหญประกอบดวย เกาะชวา สุมาตรา บอรเนียว และสุลาเวสี
- หมูเกาะซุนดานอย ประกอบดวยเกาะเล็ก ๆ ที่ตั้งอยูทางตะวันออกของเกาะชวา มีเกาะบาหลีลอมบอก
ซุมบาวา ซุมบา ฟอลเรส และติมอร
- หมูเกาะมาลุกุหรือ หมูเกาะเครื่องเทศ ตั้งอยูระหวางสุลาเวสีกับอิเรียนจายาบนเกาะ นิวกีนี
- อีเรียนจายา อยูทางทิศตะวันตกของปาปวนิวกินี
เมืองหลวง : จาการตา (Jakarta)

4. ลาว (Laos) 
     ชื่อทางการ : สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People's Democratic Republic) 
ที่ตั้ง : เปนประเทศที่ไมมีทางออกสูทะเล  มีพรมแดนติดจีนและพมาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ  ติดตอกับ
เวียดนามทางทิศตะวันออก  ติดตอกับกัมพูชาทางทิศใต  และติดตอกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก
พื้นที่: 236,800 ตารางกิโลเมตร (ประมาณครึ่งหนึ่งของประเทศไทย) 
    แบงเปน 16 แขวง และ 1 เขตปกครองพิเศษ (นครหลวงเวียงจันทน)
เมืองหลวง : นครเวียงจันทน (Vientiane) (เปนเขตเมืองหลวงเหมือน กทม. สวนแขวงเวียงจันทนเปนอีกแขวง
หนึ่งที่อยูติดกับนครหลวงเวียงจันทน)

5. มาเลเซีย (Malaysia) 
     ชื่อทางการ : มาเลเซีย (Malaysia) 
ที่ตั้ง : ตั้งอยูในเขตเสนศูนยสูตร  ประกอบดวยดินแดนสองสวน  โดยมีทะเลจีนใตกั้น
- สวนแรก คือ มาเลเซียตะวันตก  ตั้งอยูบนคาบสมุทรมลายู  มีพรมแดนทิศเหนือติดประเทศไทย และทิศ
ใตติดกับสิงคโปร  ประกอบดวย 11 รัฐ  คือ  ปะหัง สลังงอรเนกรีเซมบิลัน มะละกา ยะโฮร  เประ กลัน
ตัน ตรังกานูปนัง   เกดะหและปะลิส
- สวนที่สอง คือ มาเลเซียตะวันออก ตั้งอยูทางเหนือของเกาะบอรเนียว (กาลิมันตัน)  มีพรมแดนทิศใตติด
อินโดนีเซีย และมีพรมแดนลอมรอบประเทศบรูไน  ประกอบดวย 2 รัฐ คือ ซาบาหและซาราวัก
- นอกจากนี้ยังมีเขตการปกครองภายใตสหพันธรัฐอีก 3 เขต  คือ  กรุงกัวลาลัมเปอร (เมืองหลวง)       
เมืองปุตราจายา (เมืองราชการ) และเกาะลาบวน
พื้นที่: 330,257 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร (Kuala Lumpur)

6. พมา (Myanmar) 
ชื่อทางการ : สหภาพพมา (Union of Myanmar)
ที่ตั้ง : ตั้งอยูที่ละติจูดที่ 28 องศา 30 ลิปดา ถึง 10 องศา 20 ลิปดาเหนือ  ภูมิประเทศตั้งอยูตามแนวอาวเบงกอล
และทะเลอันดามันทําใหมีชายฝงทะเลยาวถึง 2,000 ไมล
- ทางตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทิเบตและจีน
- ทางตะวันออกติดกับลาว
- ทางตะวันออกเฉียงใตติดกับไทย  
- ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับบังคลาเทศและอินเดีย
- ทางตะวันตกเฉียงใตและทางใตติดกับทะเลอันดามันและอาวเบงกอล
พื้นที่: 676,577 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 1.3 เทาของไทย) 
เมืองหลวง : เนปดอ (Naypyidaw) (ภาษาพมา) หรือบางครั้งสะกดเปน เนปตอ (Nay Pyi Taw) (มีความหมายวา
มหาราชธานี)  เปนเมืองหลวงและเมืองศูนยกลางการบริหารของสหภาพพมาที่ไดยายมาจากยางกุง

7. ฟลิปปนส (Philippines) 
     ชื่อทางการ : สาธารณรัฐฟลิปปนส (Republic of the Philippines) 
ที่ตั้ง : เปนประเทศหมูเกาะที่ประกอบดวยเกาะจํานวนทั้งสิ้น 7,107 เกาะ  ตั้งอยูในมหาสมุทรแปซิฟก  หางจาก
เอเชียแผนดินใหญทางตะวันออกเฉียงใต  ประมาณ 100 กม.  และมีลักษณะพิเศษ คือ เปนประเทศเพียง
หนึ่งเดียวที่มีพรมแดนทางทะเลที่ติดตอระหวางกันยาวมากที่สุดในโลก
- ทิศตะวันตกและทิศเหนือติดกับทะเลจีนใต
- ทิศตะวันออกและทิศใตติดกับมหาสมุทรแปซิฟก
- อยูหางจากกรุงเทพฯ ประมาณ 1,800 กิโลเมตร   
พื้นที่: 298,170 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 3 ใน 5 ของประเทศไทย)    
เมืองหลวง : กรุงมะนิลา (Manila)

8. สิงคโปร (Singapore) 
     ชื่อทางการ : สาธารณรัฐสิงคโปร (Republic of Singapore) 
11ที่ตั้ง : เปนนครรัฐ ที่ตั้งอยูบนเกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต  ที่ละติจูด 1°17'35" เหนือ ลองจิจูด 103°51'20" 
ตะวันออก  ตั้งอยูทางใตสุดของคาบสมุทรมาเลย อยูทางใตของรัฐยะโฮรของประเทศมาเลเซีย  และอยู
ทางเหนือของเกาะรีเยาของประเทศอินโดนีเซีย
พื้นที่: ประกอบดวยเกาะสิงคโปรและเกาะใหญนอยบริเวณใกลเคียง 63 เกาะ มีพื้นที่ รวมทั้งสิ้น 697 ตาราง
กิโลเมตร (ประมาณเกาะภูเก็ต)  เกาะสิงคโปรเปนเกาะที่มีขนาดใหญที่สุดมีความยาวจากทิศตะวันตก
ไปตะวันออกประมาณ 42 กิโลเมตร  และความกวางจากทิศเหนือไปยังทิศใตประมาณ 23 กิโลเมตร
เมืองหลวง : สิงคโปร

9. ประเทศไทย (Thailand) 
     ชื่อทางการ : ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) 
ที่ตั้ง : ตั้งอยูบนคาบสมุทรอินโดจีน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีพรมแดนทางทิศตะวันออกติดประเทศลาว
และประเทศกัมพูชา ทิศใตติดอาวไทยและประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดทะเลอันดามันและประเทศ
พมา และทิศเหนือติดกับประเทศพมาและประเทศลาว โดยมีแมน้ําโขงกั้นเปนบางชวง
พื้นที่: 513,115.02 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร (Bangkok)

10. เวียดนาม (Vietnam) 
     ชื่อทางการ : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) 
ที่ตั้ง : เปนประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และ
ประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอาวตังเกี๋ย ทะเลจีนใตทางทิศตะวันออก
พื้นที่: 331,689 ตารางกิโลเมตร (0.645 เทาของประเทศไทย) 
1415
เมืองหลวง : กรุงฮานอย (Hanoi)